กิจกรรม
ขอบข่ายของหลักสูตรคณิตศาสตร์ในระดับปฐมวัยประกอบด้วย( นิตยา ประพฤติกิจ . 2541. 17-19)
- การนับ
- ตัวเลข
- การจับคู่
- การจัดประเภท
- การเปรียบเทียบ
- การจัดลำดับ
- รูปทรงและเนื้อที่
- การวัด
- เซต
- เศษส่วน
- การทำตามแบบหรือลวดลาย
- การอนุรักษ์หรือคงที่ด้านปริมาณ
(เยาวภา เดชะคุปต์ 2542: 87-88) ได้เสนอแนวการสอนคณิตศาสตร์ว่า
- การจัดกลุ่มกรือเซต
- จำนวน 1-10 การฝึกนับ1-10 จำนวนคู่ จำนวนคี่
- ระบบจำนวน และชื่อของตัวเลข123.......
- ความสัมพันธ์ระหว่างเซตต่างๆ เช่น เซตรวม การแยกเซต
- คุณสมบัติของคณิตจากการรวมกลุ่ม
- ลำดับที่ สำคัญ และประโยชน์ของคณิต
- การวัด
- รูปทรงเรขาคณิต
- สถิติและกราฟ
งานที่ได้รับมอบหมาย
การจัดประสบการณ์ด้านคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
- การนับ ให้เด็ก ๆช่วยกันนับขนมปังที่มีอยู่ในห่อว่ามีจำนวนเท่าไร 123.........ตัวเลข
- ตัวเลข นำขนมปังจำนวนหนึ่งมาวางไว้ แล้ให้เด็กๆ ไปหยิบตัวเลขฮินดูอาร์บิกเพื่อนแทนค่าจำนวนขนมปัง
- การจับคู่ ให้เด็ก ๆจับคู่ระหว่างตัวเลขไทยกับตัวเลขฮินดูอาร์บิก
- การเปรียบเทียบ การเปรียบเทียบเรื่องผม คนไหนยาวผมยาวประมาณบ่าแสดงว่าผมสั้น นอกนั้นผมยาว
- การจัดประเภท ให้ภาพปริศนาเด็กมา 10 อย่าง แล้วให้เด็กจัดประเภทว่าสิ่งไหนเป็นเครื่องเขียน สิ่งไหนเป็นเคริ่องครัว
- การจัดลำดับ วางสิ่งของเรียงกันไว้ แล้วให้เด็กนำตัวเลขไปแทนสัญลักษ์ลำดับที่
- รูปทรงและเนื้อที่ นำกะละมังมา 1 ใบ ให้เด็กตักน้ำใส่แก้วไปเท่ใส่กะละมัง ว่ากะละมังจุน้ำได้กี่แก้ว
- การวัด ให้เด็กนำไม้บรรทัดมาวัดหนังสื่อด้าน ยาว * กว้าง ว่ายาวเท่าไร กว้างเท่าไร
- เซต นำภาพเครื่องเรียนกับภาพเครื่องครัววางรวมกันให้เด็กแยกเครื่องเรียนกับเครื่องครัวออกจากกัน
- เศษส่วน ให้เด็กเรียนรู้เศาส่วนเบื้องต้นโดยนำขนมปัง 1 แผ่น แบ่งออกเป็น 4 ส่วนให้เด็ก 1 ส่วน
- การทำตามแบบหรือลวดลาย ให้คำสั่งเด็กๆ วาดรุปทรงเร๘าคณิตศาสตร์
- การอนุรักษ์ หรือคงที่ด้านปริมาณ นำแก้วน้ำทรงและแก้วน้ำเตี้ย เติมน้ำปริมาณ 1 เท่ากันลงไป แล้วถามเด็กว่าแก้วไหนมีปริมาณมาก,น้อย,หรือเท่ากัน โดยหากเด็กตอบว่ามีมาก,น้อย,เท่ากันแสดงว่าเด็กยังใช้การอนุรักษืได้ไม่ดีพอ หากเด็กตอบว่าน้ำ 2 แก้วมีปริมาณเท่ากัน แสดงว่าเด็กมีการใช้อนุรักษ์ได้ดี