วันอังคารที่ 4 ธันวาคม พ.ศ. 2555

28 พฤศจิกายน 2555

กิจกรรม

ขอบข่ายของหลักสูตรคณิตศาสตร์ในระดับปฐมวัยประกอบด้วย( นิตยา  ประพฤติกิจ . 2541. 17-19)
  1. การนับ
  2. ตัวเลข
  3. การจับคู่
  4. การจัดประเภท
  5. การเปรียบเทียบ
  6. การจัดลำดับ
  7. รูปทรงและเนื้อที่
  8. การวัด
  9. เซต
  10. เศษส่วน
  11. การทำตามแบบหรือลวดลาย
  12. การอนุรักษ์หรือคงที่ด้านปริมาณ

(เยาวภา เดชะคุปต์ 2542: 87-88) ได้เสนอแนวการสอนคณิตศาสตร์ว่า

  1. การจัดกลุ่มกรือเซต
  2. จำนวน 1-10 การฝึกนับ1-10 จำนวนคู่ จำนวนคี่
  3. ระบบจำนวน และชื่อของตัวเลข123.......
  4. ความสัมพันธ์ระหว่างเซตต่างๆ เช่น เซตรวม การแยกเซต
  5. คุณสมบัติของคณิตจากการรวมกลุ่ม
  6. ลำดับที่ สำคัญ และประโยชน์ของคณิต
  7. การวัด
  8. รูปทรงเรขาคณิต
  9. สถิติและกราฟ
                   งานที่ได้รับมอบหมาย
การจัดประสบการณ์ด้านคณิตศาสตร์สำหรับเด็กปฐมวัย
  1. การนับ       ให้เด็ก ๆช่วยกันนับขนมปังที่มีอยู่ในห่อว่ามีจำนวนเท่าไร 123.........ตัวเลข
  2. ตัวเลข           นำขนมปังจำนวนหนึ่งมาวางไว้ แล้ให้เด็กๆ ไปหยิบตัวเลขฮินดูอาร์บิกเพื่อนแทนค่าจำนวนขนมปัง
  3. การจับคู่          ให้เด็ก ๆจับคู่ระหว่างตัวเลขไทยกับตัวเลขฮินดูอาร์บิก
  4. การเปรียบเทียบ        การเปรียบเทียบเรื่องผม คนไหนยาวผมยาวประมาณบ่าแสดงว่าผมสั้น นอกนั้นผมยาว
  5. การจัดประเภท          ให้ภาพปริศนาเด็กมา 10 อย่าง แล้วให้เด็กจัดประเภทว่าสิ่งไหนเป็นเครื่องเขียน สิ่งไหนเป็นเคริ่องครัว
  6. การจัดลำดับ             วางสิ่งของเรียงกันไว้ แล้วให้เด็กนำตัวเลขไปแทนสัญลักษ์ลำดับที่
  7. รูปทรงและเนื้อที่     นำกะละมังมา 1 ใบ ให้เด็กตักน้ำใส่แก้วไปเท่ใส่กะละมัง ว่ากะละมังจุน้ำได้กี่แก้ว
  8. การวัด           ให้เด็กนำไม้บรรทัดมาวัดหนังสื่อด้าน ยาว * กว้าง ว่ายาวเท่าไร กว้างเท่าไร
  9. เซต               นำภาพเครื่องเรียนกับภาพเครื่องครัววางรวมกันให้เด็กแยกเครื่องเรียนกับเครื่องครัวออกจากกัน
  10. เศษส่วน        ให้เด็กเรียนรู้เศาส่วนเบื้องต้นโดยนำขนมปัง  1 แผ่น  แบ่งออกเป็น  4  ส่วนให้เด็ก  1  ส่วน
  11. การทำตามแบบหรือลวดลาย       ให้คำสั่งเด็กๆ วาดรุปทรงเร๘าคณิตศาสตร์
  12. การอนุรักษ์  หรือคงที่ด้านปริมาณ        นำแก้วน้ำทรงและแก้วน้ำเตี้ย เติมน้ำปริมาณ  1 เท่ากันลงไป แล้วถามเด็กว่าแก้วไหนมีปริมาณมาก,น้อย,หรือเท่ากัน โดยหากเด็กตอบว่ามีมาก,น้อย,เท่ากันแสดงว่าเด็กยังใช้การอนุรักษืได้ไม่ดีพอ หากเด็กตอบว่าน้ำ 2 แก้วมีปริมาณเท่ากัน แสดงว่าเด็กมีการใช้อนุรักษ์ได้ดี


ไม่มีความคิดเห็น:

แสดงความคิดเห็น